<ชื่อโครงการ/>หลักสูตรฝึกอบรม<ปีงบประมาณ xsi:nil="true" /><ระยะเวลาฝึกอบรม /><วัตถุประสงค์>ของโครงการ<กลุ่มเป้าหมาย /><จำนวนผู้เข้าอบรม /><จำนวนผู้ผ่าน>การฝึกอบรม<การประเมินผล>การเรียนรู้<การบรรลุวัตถุประสงค์>การฝึกอบรมในภาพรวม<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>ต่อการนำความรู้ไปปรับ<ความพึงพอใจ>ต่อภาพรวม<เศรษฐกิจและสามารถ>นำไปสร้างประโยชน์<ความเหมาะสม>และประโยชน์ของ<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม /> <ชื่อโครงการ/ /><ปีงบประมาณ xsi:nil="true" /><ระยะเวลาฝึกอบรม /><วัตถุประสงค์ /><กลุ่มเป้าหมาย /><จำนวนผู้เข้าอบรม /><จำนวนผู้ผ่าน /><การประเมินผล /><การบรรลุวัตถุประสงค์ /><ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>ใช้ในการปฏิบัติงาน<ความพึงพอใจ>ปของโครงการ<เศรษฐกิจและสามารถ>ให้แก่ราชการ<ความเหมาะสม>หลักสูตรในภาพรวม<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม /> <ชื่อโครงการ/>นบส.กษ.2<ปีงบประมาณ>2562<ระยะเวลาฝึกอบรม>20 พฤศจิกายน 2561 - 23 มกราคม 2562<วัตถุประสงค์>๑. เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทอำนวยการหรือเทียบเท่าในการเข้าสู่ตำแหน่งประเภทบริหาร2.เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้รับความเชื่อถือไว้วางใจ เชื่อมั่น ศรัทธา จากผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยจัดการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เรียนรู้และพัฒนาตนเอง และมีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้อื่น ตามบทบาทหน้าที่ทางการบริหารและการมีภาวะผู้นำ <กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และผู้มีคุณสมบัติตามหลักสูตรกำหนด <จำนวนผู้เข้าอบรม>68.0<จำนวนผู้ผ่าน>68.0<การประเมินผล /><การบรรลุวัตถุประสงค์ /><ประโยชน์ของหัวข้อวิชา /><ความพึงพอใจ>4.43<เศรษฐกิจและสามารถ /><ความเหมาะสม /><ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม /> <ชื่อโครงการ/>นบส.กษ.3<ปีงบประมาณ>2563<ระยะเวลาฝึกอบรม>15 มิถุนายน - 18 สิงหาคม 2563<วัตถุประสงค์>๑. เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทอำนวยการหรือเทียบเท่าในการเข้าสู่ตำแหน่งประเภทบริหาร2.เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้รับความเชื่อถือไว้วางใจ เชื่อมั่น ศรัทธา จากผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยจัดการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เรียนรู้และพัฒนาตนเอง และมีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้อื่น ตามบทบาทหน้าที่ทางการบริหารและการมีภาวะผู้นำ <กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และผู้มีคุณสมบัติตามหลักสูตรกำหนด <จำนวนผู้เข้าอบรม>64.0<จำนวนผู้ผ่าน>64.0<การประเมินผล>การประเมินผลการเรียนรู้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีผลการทดสอบหลังการฝึกอบรมมากกว่าก่อนการฝึกอบรม (คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 83.08 คะแนน และการการฝึกอบรมเท่ากับ 49.33 คะแนน) และผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีคะแนนเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 100<การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.87)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.72) โดยหมวดวิชาที่ 4 บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง ด้านการบริหารตนและการบริหารคนได้รับคะแนนมากที่สุด <ความพึงพอใจ>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.67)<เศรษฐกิจและสามารถ>ผู้เข้าอบรมจำนวนร้อยละ 98.44 มีความเห็นว่าการเข้ารับการฝึกอบรมมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และสามารถนำไปสร้างประโยชน์ให้แก่ราชการได้เป็นอย่างดี<ความเหมาะสม>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.54)<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม> -ช่วงการปฐมนิเทศควรมีโอกาสได้ทำความคุ้นเคยกันก่อนการฝึกอบรม - ควรมีการอบรมทางออนไลน์และออฟไลน์พร้อมกันเพื่อเป็นการสร้างเครือข่าย <ชื่อโครงการ/>นบส.กษ.4<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>19 พฤษภาคม - 14 กรกฎาคม 2564<วัตถุประสงค์>๑. เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทอำนวยการหรือเทียบเท่าในการเข้าสู่ตำแหน่งประเภทบริหาร2.เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้รับความเชื่อถือไว้วางใจ เชื่อมั่น ศรัทธา จากผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยจัดการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เรียนรู้และพัฒนาตนเอง และมีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้อื่น ตามบทบาทหน้าที่ทางการบริหารและการมีภาวะผู้นำ <กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และผู้มีคุณสมบัติตามหลักสูตรกำหนด <จำนวนผู้เข้าอบรม>65.0<จำนวนผู้ผ่าน>65.0<การประเมินผล>การประเมินผลการเรียนรู้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีผลการทดสอบหลังการฝึกอบรมมากกว่าก่อนการฝึกอบรม (คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 86.74 คะแนน และก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 54.40 คะแนน) และผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีคะแนนเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 100 <การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.77)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.71) โดยหมวดวิชาที่ 4 บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง ด้านการบริหารตนและการบริหารคนได้รับคะแนนมากที่สุด <ความพึงพอใจ>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.71)<เศรษฐกิจและสามารถ>ผู้เข้าอบรมจำนวนร้อยละ 100 มีความเห็นว่าการเข้ารับการฝึกอบรมมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และสามารถนำไปสร้างประโยชน์ให้แก่ราชการได้เป็นอย่างดี<ความเหมาะสม>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.69)<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>เพิ่มหัวข้อวิชาในการฝึกอบรม - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารภาครัฐ - บริหารแผนงาน งบประมาณ การขับเคลื่อนภาครัฐยุคดิจิทัล - การบริหารความขัดแย้ง <ชื่อโครงการ/>นบส.74<ปีงบประมาณ>2563<ระยะเวลาฝึกอบรม>29 มิถุนายน – 27 สิงหาคม 2563<วัตถุประสงค์>เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ในการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งที่สูงขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change agent) การบริหารจัดการ (Management) ทัศนคติ (Attitude and Mindset) คุณธรรมและจริยธรรม (Integrity) กระบวนการเครือข่าย (Network) และระบบพันธมิตร (Partnership) และเพื่อสร้างผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้มีภาวะผู้นำ ที่มีทัศนคติ มีสมรรถนะและขีดความสามารถ รวมถึงสามารถรองรับภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่สูงขึ้น และเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง สามารถคิด ริเริ่ม และสามารถทำให้ผู้อื่นเข้าใจในการปรับเปลี่ยนที่จะเกิดขึ้น ตลอดจนเป็นผู้นำที่มีคุณธรรมและจริยธรรม และเป็นแบบอย่างที่ดี<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>105.0<จำนวนผู้ผ่าน>105 (ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย 69 คน และเพศหญิง 36 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 51 – 55 ปี อายุราชการมากกว่า 25 ปีขึ้นไป และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรม 72.73 คะแนน ก่อนการฝึกอบรม 56.36 คะแนน คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรม มากกว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมอยู่ที่ 16.37 คะแนน โดยคะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมมีการกระจายไม่มาก สะท้อนให้เห็นว่า ผู้เข้าอบรมมีระดับความรู้หลังการฝึกอบรมใกล้เคียงกัน เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความรู้ก่อนการฝึกอบรม<การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.33)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.35) โดยหมวดวิชาที่ 2 การสร้างทัศนคติและการทำงานเชิงบูรณาการ ได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.46 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.22) โดยด้านความเชื่อมั่นเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการ คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.44 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด)<เศรษฐกิจและสามารถ>ร้อยละ 92.38 มีความเห็นว่าการเข้ารับการฝึกอบรมมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และสามารถนำไปสร้างประโยชน์ให้แก่ราชการได้เป็นอย่างดี<ความเหมาะสม>อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.04)<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>1) ด้านเนื้อหาวิชา/หลักสูตร ควรปรับเป็นหลักสูตรแบบผสมผสานทั้งรูปแบบ Online และ Offline 2) ด้านปฐมนิเทศเตรียมความพร้อมและปัจฉิมนิเทศ ควรจัดแบบพบกัน 3) ด้านการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน (Social Lab) และการศึกษาดูงานต่างประเทศ ควรจัดให้ผู้เข้าอบรมมีการศึกษาโดยลงพื้นที่จริง เพื่อเข้าใจบริบทรอบด้านมากกว่าการอบรมในรูปแบบ Online (ทั้งนี้ ติดข้อจำกัดภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019) 4) ด้านอื่น ๆ เช่น การวิเคราะห์กรณีศึกษาต่างประเทศ ควรมีมากกว่า 1 ประเทศ เพื่อเห็นความแตกต่างของประเทศอื่น ๆ หลากหลายรูปแบบ บางรายวิชาที่ต้องมีกิจกรรมการปฏิบัติ ควรจัดเป็นห้องเรียนแบบฝึกปฏิบัติจริง ควรจัดให้มีกิจกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ศึกษาด้วยกันในบางโอกาส <ชื่อโครงการ/>นบส.75<ปีงบประมาณ>2563<ระยะเวลาฝึกอบรม>วันที่ 13 กรกฎาคม – 5 กันยายน 2563<วัตถุประสงค์>เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ในการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งที่สูงขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change agent) การบริหารจัดการ (Management) ทัศนคติ (Attitude and Mindset) คุณธรรมและจริยธรรม (Integrity) กระบวนการเครือข่าย (Network) และระบบพันธมิตร (Partnership) และเพื่อสร้างผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้มีภาวะผู้นำ ที่มีทัศนคติ มีสมรรถนะและขีดความสามารถ รวมถึงสามารถรองรับภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่สูงขึ้น และเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง สามารถคิด ริเริ่ม และสามารถทำให้ผู้อื่นเข้าใจในการปรับเปลี่ยนที่จะเกิดขึ้น ตลอดจนเป็นผู้นำที่มีคุณธรรมและจริยธรรม และเป็นแบบอย่างที่ดี<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>105.0<จำนวนผู้ผ่าน>105 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย 59 คน และเพศหญิง 46 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 51 – 55 ปี อายุราชการมากกว่า 25 ปีขึ้นไป และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่<การประเมินผล>คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 80.22 คะแนน และก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 47.32 คะแนน คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรม มากกว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมอยู่ที่ 32.29 คะแนน โดยคะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมมีการกระจายค่าที่ดีกว่า ความแปรปรวนของคะแนนลดลง สะท้อนให้เห็นว่า ผู้เข้าอบรมมีระดับความรู้หลังการฝึกอบรมใกล้เคียงกัน เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความรู้ก่อนการฝึกอบรม <การบรรลุวัตถุประสงค์>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.59)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.49) โดยหมวดวิชาที่ 4 การขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาสู่การปฏิบัติ ได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด(ค่าเฉลี่ย 4.53 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.50) โดยด้านความเชื่อมั่นเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.77 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด)<เศรษฐกิจและสามารถ>ร้อยละ 100 มีความเห็นว่าการเข้ารับการฝึกอบรมมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และสามารถนำไปสร้างประโยชน์ให้แก่ราชการได้เป็นอย่างดี<ความเหมาะสม>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.26)<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สรุปได้ดังนี้ 1.1) ด้านเนื้อหาวิชา/หลักสูตร รูปแบบการฝึกอบรมมีความทันสมัย ทำให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีเพิ่มขึ้น แต่อาจตอบโจทย์วัตถุประสงค์ในการสร้างเครือข่ายของผู้เข้าอบรมได้ไม่มากเท่าที่ควร, ควรมีการอบรมแบบผสมผสานทั้งรูปแบบ Online และ Offline 1..2) ด้านอื่น ๆ เช่น อยากให้เพิ่มวิชาการบรรยายเกี่ยวกับ ด้านการพัฒนานวัตกรรมและแนวโน้มภาคการเกษตรในอนาคต, การปรับกระบวนงาน/งานบริการด้านดิจิทัล, กฎหมายระหว่างประเทศในภาคการเกษตร <ชื่อโครงการ/>นบส.76<ปีงบประมาณ>2563<ระยะเวลาฝึกอบรม>17 มิถุนายน - 25 สิงหาคม 2563<วัตถุประสงค์>เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ในการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งที่สูงขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change agent) การบริหารจัดการ (Management) ทัศนคติ (Attitude and Mindset) คุณธรรมและจริยธรรม (Integrity) กระบวนการเครือข่าย (Network) และระบบพันธมิตร (Partnership) และเพื่อสร้างผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้มีภาวะผู้นำ ที่มีทัศนคติ มีสมรรถนะและขีดความสามารถ รวมถึงสามารถรองรับภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่สูงขึ้น และเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง สามารถคิด ริเริ่ม และสามารถทำให้ผู้อื่นเข้าใจในการปรับเปลี่ยนที่จะเกิดขึ้น ตลอดจนเป็นผู้นำที่มีคุณธรรมและจริยธรรม และเป็นแบบอย่างที่ดี<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>122.0<จำนวนผู้ผ่าน>122 คน (เพศชาย 79 คน และเพศหญิง 43 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 51 – 55 ปี อายุราชการมากกว่า 25 ปีขึ้นไป และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 83.71 คะแนน และก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 51.36 คะแนน คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรม มากกว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมอยู่ที่ 36.35 คะแนน โดยคะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมมีการกระจายค่าที่ดีกว่า ความแปรปรวนของคะแนนลดลง สะท้อนให้เห็นว่า ผู้เข้าอบรมมีระดับความรู้หลังการฝึกอบรมใกล้เคียงกัน เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความรู้ก่อนการฝึกอบรม<การบรรลุวัตถุประสงค์>การบรรลุวัตถุประสงค์การฝึกอบรมในภาพรวม มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.72)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.70) โดยหมวดวิชาที่ 2 การสร้างทัศนคติและการทำงานเชิงบูรณาการ ได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.74 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.64) โดยด้านเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.73 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด)<เศรษฐกิจและสามารถ>ร้อยละ 98.36 มีความเห็นว่าการเข้ารับการฝึกอบรมมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และสามารถนำไปสร้างประโยชน์ให้แก่ราชการได้เป็นอย่างดี<ความเหมาะสม>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.58)<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>1. ด้านเนื้อหาวิชา/หลักสูตร ควรปรับเป็นหลักสูตรแบบผสมผสานทั้งรูปแบบ Online และ Offline 2. ต้องการให้มีระยะเวลาการอบรมให้มากกว่านี้ เนื่องจากระยะเวลากระชั้นชิดเกินไปทำให้ประสิทธิภาพในการอบรมลดลง 3. ต้องการเพิ่มเติมหัวข้อวิชาอื่น ๆ เช่น การปรับตัวของผู้บริหารในสถานการณ์วิกฤติ เทคนิคการสื่อสาร การบริหารการเงินการคลัง เป็นต้น <ชื่อโครงการ/>นบส.77<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>23 มีนาคม – 25 พฤษภาคม 2564<วัตถุประสงค์>เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ในการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งที่สูงขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change agent) การบริหารจัดการ (Management) ทัศนคติ (Attitude and Mindset) คุณธรรมและจริยธรรม (Integrity) กระบวนการเครือข่าย (Network) และระบบพันธมิตร (Partnership) และเพื่อสร้างผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้มีภาวะผู้นำ ที่มีทัศนคติ มีสมรรถนะและขีดความสามารถ รวมถึงสามารถรองรับภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่สูงขึ้น และเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง สามารถคิด ริเริ่ม และสามารถทำให้ผู้อื่นเข้าใจในการปรับเปลี่ยนที่จะเกิดขึ้น ตลอดจนเป็นผู้นำที่มีคุณธรรมและจริยธรรม และเป็นแบบอย่างที่ดี<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>108.0<จำนวนผู้ผ่าน>108 คน (เป็นเพศชาย 66 คน และเพศหญิง 42 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 51 – 55 ปี อายุราชการมากกว่า 25 ปีขึ้นไป และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 86.60 คะแนน และก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 41.27 คะแนน คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรม มากกว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมอยู่ที่ 45.33<การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.67 หรือร้อยละ 93.40)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.67 หรือร้อยละ 93.40) โดยหมวดวิชาที่ 1 ภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.74 หรือร้อยละ 94.80 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.67 หรือร้อยละ 93.40) โดยด้านเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ คะแนนเฉลี่ยสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.77 หรือร้อยละ 95.40) อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด<เศรษฐกิจและสามารถ>ร้อยละ 99.07 มีความเห็นว่าการเข้ารับการฝึกอบรมมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และสามารถนำไปสร้างประโยชน์ให้แก่ราชการได้เป็นอย่างดี<ความเหมาะสม>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.65 หรือร้อยละ 93.00)<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>1.หัวข้อวิชาที่ผู้อบรมมีความต้องการและสนใจเพิ่มเติม สรุปได้ดังนี้ 1.1) การพัฒนาทักษะ การนำเสนอ การสื่อสาร 1.2) การใช้จิตวิทยาในการบริหารจัดการ การบริหารความขัดแย้ง 1.3) การนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในงานพัฒนาการเกษตร 1.4) การสร้างกลยุทธ์เพื่อพัฒนาภาคการเกษตรไทย 1.5) การพัฒนาความเป็นภาวะผู้นำ 2. ข้อเสนอแนะอื่นๆ ด้านเนื้อหาวิชาของหลักสูตร ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนาโครงการ สรุปได้ดังนี้ 2.1) ควรเพิ่มกิจกรรมสันทนาการ กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ของกลุ่มแต่ละกลุ่ม ในระยะเวลาการฝึกอบรม 2.2) ควรเพิ่มเติมกิจกรรมแบบพบกันของรุ่น เมื่อสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19 ลดลง <ชื่อโครงการ/>นบส.78<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>7 มิถุนายน – 4 สิงหาคม 2564<วัตถุประสงค์>เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ในการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งที่สูงขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change agent) การบริหารจัดการ (Management) ทัศนคติ (Attitude and Mindset) คุณธรรมและจริยธรรม (Integrity) กระบวนการเครือข่าย (Network) และระบบพันธมิตร (Partnership) และเพื่อสร้างผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้มีภาวะผู้นำ ที่มีทัศนคติ มีสมรรถนะและขีดความสามารถ รวมถึงสามารถรองรับภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบที่สูงขึ้น และเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง สามารถคิด ริเริ่ม และสามารถทำให้ผู้อื่นเข้าใจในการปรับเปลี่ยนที่จะเกิดขึ้น ตลอดจนเป็นผู้นำที่มีคุณธรรมและจริยธรรม และเป็นแบบอย่างที่ดี<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>108.0<จำนวนผู้ผ่าน>108 คน (เพศชาย 66 คน และเพศหญิง 42 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 51 – 55 ปี อายุราชการมากกว่า 25 ปีขึ้นไป และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>การประเมินผลการเรียนรู้ ด้วยแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีผลการทดสอบหลังการฝึกอบรมมากกว่าก่อนการฝึกอบรม คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 89.24 คะแนน และก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 52.83 คะแนน คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรม มากกว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมอยู่ที่ 36.41<การบรรลุวัตถุประสงค์>การบรรลุวัตถุประสงค์การฝึกอบรมในภาพรวม มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.53 หรือร้อยละ 90.60)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.63 หรือร้อยละ 92.60) โดยหมวดวิชาที่ 2 การสร้างทัศนคติและการทำงานเชิงบูรณาการ และหมวดวิชาที่ 3 นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการภาคการเกษตร มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากัน (ค่าเฉลี่ย 4.66 หรือร้อยละ 93.20 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.52 หรือร้อยละ 90.40) โดยด้านเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ คะแนนเฉลี่ยสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.72 หรือร้อยละ 94.40) อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด<เศรษฐกิจและสามารถ>ร้อยละ 99.07 มีความเห็นว่าการเข้ารับการฝึกอบรมมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และสามารถนำไปสร้างประโยชน์ให้แก่ราชการได้เป็นอย่างดี<ความเหมาะสม>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.48 หรือร้อยละ 89.60)<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>1. หัวข้อวิชาที่ผู้อบรมมีความต้องการและสนใจเพิ่มเติม สรุปได้ดังนี้ 1.1) เทคโนโลยีที่ใช้ในการเพิ่มผลผลิตด้านการเกษตร 1.2) ความรู้ด้านการแพทย์ในสถานการณ์โควิด 19 1.3) เทคโนโลยีดิจิทัลในยุคปัจจุบันสำหรับผู้บริหาร 1.4) การโน้มน้าวใจผู้ร่วมงานและการสร้างทีม 1.5) การบริหารการเงินและงบประมาณ 2. ข้อเสนอแนะอื่นๆ ด้านเนื้อหาวิชาของหลักสูตร ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนาโครงการ สรุปได้ดังนี้ 2.1) การศึกษางานเกษตรจากประเทศที่น่าสนใจเพื่อนำมาปรับใช้ในประเทศไทย 2.2) แบบประเมินควรเป็นแบบที่ไม่ระบุตัวตน หรือเลขประจำตัว เพื่อความสบายใจของผู้อบรม <ชื่อโครงการ/>นบก.95<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>22 มีนาคม - 31 เมษายน 2564<วัตถุประสงค์>1. ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาแนวคิดและวิสัยทัศน์ที่จะสามารถเป็นผู้นำการบริหาร การเปลี่ยนแปลง และบริหารงานได้อย่างมืออาชีพ 2. เพิ่มพูนทักษะในการสร้างแรงจูงใจและพัฒนาประสิทธิภาพของทีมงานและองค์การได้ 3. เข้าใจกระบวนการสร้างเครือข่าย (Network) และระบบพันธมิตร (Partner) เพื่อเพิ่มพลังการทำงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4. สามารถถ่ายทอดนโยบายจากระดับสูงไปสู่ระดับปฏิบัติในหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบได้อย่างถูกต้องชัดเจน <กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>150.0<จำนวนผู้ผ่าน>150 คน (เพศชาย 72 คน และเพศหญิง 78 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม พบว่า คะแนนเฉลี่ยของผู้เข้ารับการฝึกอบรมทั้ง 150 คน ได้คะแนนผ่านเกณฑ์ที่กำหนดทุกคน โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 83.91 คะแนน ผู้ที่มีคะแนนสูงสุด เท่ากับ 89.28 คะแนน และผู้ที่มีคะแนนต่ำสุด เท่ากับ 80.00 คะแนน<การบรรลุวัตถุประสงค์>โดยภาพรวมการบรรลุวัตถุประสงค์ในการฝึกอบรมมีคะแนนเฉลี่ย 4.76 คะแนน อยู่ในระดับมากที่สุด<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.06 หรือร้อยละ 81.2) โดยวิชาคุณธรรม และจริยธรรมในการเป็นข้าราชการที่ดี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 4.40 หรือร้อยละ 88 อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา วิชาการจัดการตนเอง (Self Management) มีค่าเฉลี่ย 4.35 หรือร้อยละ 87 อยู่ในระดับมากที่สุด<ความพึงพอใจ>ผลการประเมินในภาพรวมที่คะแนนเฉลี่ย 4.74 คะแนน อยู่ในระดับมากที่สุด<เศรษฐกิจและสามารถ>ร้อยละ 98.66 คิดว่าการเข้ารับการฝึกอบรมครั้งนี้มีความคุ้มค่า<ความเหมาะสม>ความเหมาะสมและเป็นประโยชน์ ของหลักสูตรฝึกอบรมที่คะแนนเฉลี่ย 4.66 คะแนน อยู่ในระดับมากที่สุด<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>1. หัวข้อวิชาที่ผู้อบรมมีความต้องการและสนใจเพิ่มเติม สรุปได้ดังนี้ 1) นวัตกรรมและเทคโนโลยี การสื่อสารโซเชียล วิชาด้านเทคโนโลยีต่าง ๆ 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) เครื่องมือการบริหารการตลาด และการทำแผนการตลาด 4) การบริหารการเงิน งบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้าง 5) จิตวิทยาในการบริหารคน และการเข้าใจบุคคลรอบข้าง 2. ข้อเสนอแนะอื่นๆ ด้านเนื้อหาวิชาของหลักสูตร ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนาโครงการ สรุปได้ดังนี้ ควรเพิ่มเวลาในการบรรยาย เนื่องจากบางหัวข้อรายวิชามีเนื้อหามาก แต่มีเวลาเพียง 3 ชั่วโมง เพิ่มกรณีตัวอย่าง และการฝึกปฏิบัติ ควรกระชับ หรือลดเวลาในการบรรยายสำหรับบางหัวข้อรายวิชา <ชื่อโครงการ/>นบก.96<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>19 พฤษภาคม - 28 มิถุนายน 2564<วัตถุประสงค์>1. ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาแนวคิดและวิสัยทัศน์ที่จะสามารถเป็นผู้นำการบริหาร การเปลี่ยนแปลง และบริหารงานได้อย่างมืออาชีพ 2. เพิ่มพูนทักษะในการสร้างแรงจูงใจและพัฒนาประสิทธิภาพของทีมงานและองค์การได้ 3. เข้าใจกระบวนการสร้างเครือข่าย (Network) และระบบพันธมิตร (Partner) เพื่อเพิ่มพลังการทำงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4. สามารถถ่ายทอดนโยบายจากระดับสูงไปสู่ระดับปฏิบัติในหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบได้อย่างถูกต้องชัดเจน <กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>150.0<จำนวนผู้ผ่าน>150 คน (เพศชาย 61 คน และเพศหญิง 89 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม พบว่า คะแนนเฉลี่ยของผู้เข้ารับการฝึกอบรมทั้ง 150 คน ได้คะแนนผ่านเกณฑ์ที่กาหนดทุกคน โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 88.66 คะแนน ผู้ที่มีคะแนนสูงสุด เท่ากับ 92.09 คะแนน และผู้ที่มีคะแนนต่าสุด เท่ากับ 85.23 คะแนน<การบรรลุวัตถุประสงค์>โดยภาพรวมการบรรลุวัตถุประสงค์ในการฝึกอบรมมีคะแนนเฉลี่ย 4.69 คะแนน อยู่ในระดับมากที่สุด<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>ครบกำหนดติดตามประเมินผลการฝึกอบรมในเดือนกันยายน 2564<ความพึงพอใจ>ความพึงพอใจในการฝึกอบรมโดยภาพรวมที่คะแนนเฉลี่ย 4.35 คะแนน อยู่ในระดับมากที่สุด<เศรษฐกิจและสามารถ>ร้อยละ 99.33 คิดว่าการเข้ารับการฝึกอบรมครั้งนี้มีความคุ้มค่า<ความเหมาะสม>ความเหมาะสมและเป็นประโยชน์ ของหลักสูตรฝึกอบรมที่คะแนนเฉลี่ย 4.58 คะแนน อยู่ในระดับมากที่สุด<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>1. หัวข้อวิชาที่ผู้อบรมมีความต้องการและสนใจเพิ่มเติม สรุปได้ดังนี้ 1) ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารงานพัสดุ 2) การทาแผนยุทธศาสตร์/การวางแผนกลยุทธ์ 3) การพูดในที่สาธารณะ ทักษะการตอบคาถามในที่สาธารณะ 4) เทคโนโลยีและนวัตกรรม ระบบสารสนเทศการเกษตร 5) การพัฒนาบุคลิกภาพ การพูด เดิน นั่ง การวางตัวเวลาเข้าสังคม 2. ข้อเสนอแนะอื่นๆ ด้านเนื้อหาวิชาของหลักสูตร ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนาโครงการ สรุปได้ดังนี้ ควรเพิ่มเวลาเรียนในบางวิชาให้เหมาะสม เช่น หัวข้อวิชาการวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาการเกษตรการพูดในที่สาธารณะ การลงทุนและบริหารจัดการเงิน block chain จัดซื้อจัดจ้าง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน และการบริหารการเปลี่ยนแปลง จานวนผู้เข้าอบรมมีจานวนมากไป ทาให้การเรียนการสอนไม่ทั่วถึง <ชื่อโครงการ/>นบก.97<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>7 มิถุนายน - 13 กรกฎาคม 2564<วัตถุประสงค์>1. ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาแนวคิดและวิสัยทัศน์ที่จะสามารถเป็นผู้นำการบริหาร การเปลี่ยนแปลง และบริหารงานได้อย่างมืออาชีพ 2. เพิ่มพูนทักษะในการสร้างแรงจูงใจและพัฒนาประสิทธิภาพของทีมงานและองค์การได้ 3. เข้าใจกระบวนการสร้างเครือข่าย (Network) และระบบพันธมิตร (Partner) เพื่อเพิ่มพลังการทำงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4. สามารถถ่ายทอดนโยบายจากระดับสูงไปสู่ระดับปฏิบัติในหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบได้อย่างถูกต้องชัดเจน <กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>130.0<จำนวนผู้ผ่าน>130 คน (เพศชาย 84 คน และเพศหญิง 46 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม พบว่า คะแนนเฉลี่ยของผู้เข้ารับการฝึกอบรมทั้ง 130 คน ได้คะแนนผ่านเกณฑ์ที่กาหนดทุกคน โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 86.39 คะแนน ผู้ที่มีคะแนนสูงสุด เท่ากับ 90.59 คะแนน และผู้ที่มีคะแนนต่าสุด เท่ากับ 82.23 คะแนน<การบรรลุวัตถุประสงค์>โดยภาพรวมการบรรลุวัตถุประสงค์ในการฝึกอบรมมี คะแนนเฉลี่ย 4.68 คะแนน อยู่ในระดับมากที่สุด<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>ครบกำหนดติดตามประเมินผลการฝึกอบรมในเดือนตุลาคม 2565<ความพึงพอใจ>ความพึงพอใจในการฝึกอบรมโดยภาพรวมที่คะแนนเฉลี่ย 4.43 คะแนน อยู่ในระดับ มากที่สุด<เศรษฐกิจและสามารถ>ร้อยละ 99.23 คิดว่าการเข้ารับการฝึกอบรมครั้งนี้มีความคุ้มค่า<ความเหมาะสม>ความเหมาะสมและเป็นประโยชน์ ของหลักสูตรฝึกอบรมที่คะแนนเฉลี่ย 4.58 คะแนน อยู่ในระดับมากที่สุด<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>1. หัวข้อวิชาที่ผู้อบรมมีความต้องการและสนใจเพิ่มเติม สรุปได้ดังนี้ 1) หัวข้อรายวิชาที่เกี่ยวกับนวัตกรรม และเทคโนโลยี 2) การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 3) การวางแผนกลยุทธ์ 4) การบริหารงาน จัดการองค์กร 5) การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ชุมชน หรือสถานการณ์ 2. ข้อเสนอแนะอื่นๆ ด้านเนื้อหาวิชาของหลักสูตร ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนาโครงการ สรุปได้ดังนี้ ควรเพิ่มเวลาในหัวข้อรายวิชาที่เกี่ยวกับแผนกลยุทธ์ เนื้อหาบางวิชากว้างหรือมากเกินไป ควรเน้นหัวข้อวิชาที่เกี่ยวกับระเบียบ กฎหมายของราชการ เนื่องจากวิชาส่วนมากบรรยายโดยวิทยากรจากภาคเอกชน ควรเน้นเนื้อหาในด้านการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร <ชื่อโครงการ/>นบก.98<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>13 กรกฎาคม - 24 สิงหาคม 2564<วัตถุประสงค์>1. ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาแนวคิดและวิสัยทัศน์ที่จะสามารถเป็นผู้นำการบริหาร การเปลี่ยนแปลง และบริหารงานได้อย่างมืออาชีพ 2. เพิ่มพูนทักษะในการสร้างแรงจูงใจและพัฒนาประสิทธิภาพของทีมงานและองค์การได้ 3. เข้าใจกระบวนการสร้างเครือข่าย (Network) และระบบพันธมิตร (Partner) เพื่อเพิ่มพลังการทำงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4. สามารถถ่ายทอดนโยบายจากระดับสูงไปสู่ระดับปฏิบัติในหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบได้อย่างถูกต้องชัดเจน <กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>130.0<จำนวนผู้ผ่าน>อยู่ระหว่างดำเนินการจัดทำเล่มรายงานและส่งมอบงานตาม TOR<การประเมินผล /><การบรรลุวัตถุประสงค์ /><ประโยชน์ของหัวข้อวิชา /><ความพึงพอใจ /><เศรษฐกิจและสามารถ /><ความเหมาะสม /><ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม /> <ชื่อโครงการ/>นบก.99<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>2 สิงหาคม - 2 กันยายน 2564<วัตถุประสงค์>1. ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาแนวคิดและวิสัยทัศน์ที่จะสามารถเป็นผู้นำการบริหาร การเปลี่ยนแปลง และบริหารงานได้อย่างมืออาชีพ 2. เพิ่มพูนทักษะในการสร้างแรงจูงใจและพัฒนาประสิทธิภาพของทีมงานและองค์การได้ 3. เข้าใจกระบวนการสร้างเครือข่าย (Network) และระบบพันธมิตร (Partner) เพื่อเพิ่มพลังการทำงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4. สามารถถ่ายทอดนโยบายจากระดับสูงไปสู่ระดับปฏิบัติในหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบได้อย่างถูกต้องชัดเจน <กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>130.0<จำนวนผู้ผ่าน>อยู่ระหว่างดำเนินการจัดฝึกอบรม<การประเมินผล /><การบรรลุวัตถุประสงค์ /><ประโยชน์ของหัวข้อวิชา /><ความพึงพอใจ /><เศรษฐกิจและสามารถ /><ความเหมาะสม /><ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม /> <ชื่อโครงการ/>หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับต้น รุ่นที่ 43<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>10 วัน (1-15 ก.พ. 2564)<วัตถุประสงค์>โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับต้นที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 2)มีทัศนคติที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถทำงานในลักษณะทีมงานได้อย่างเหมาะสม 3)สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการปฏิบัติงานของตนเองและเพื่อนร่วมงาน และนำไปปรับใช้ในการสร้างทีมปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4)ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติงานระหว่างกัน และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานในอนาคต<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>75 คน<จำนวนผู้ผ่าน>75 คน (ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 45 คน และเพศชาย 30 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36 – 40 ปี อายุราชการ 6 - 10 ปี และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>ผลการประเมิน พบว่า ค่าเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 17.56 และค่าเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 14.29 โดยมีการกระจายของคะแนนในกลุ่มหลังการฝึกอบรม (S.D.=1.85) น้อยกว่าก่อนการฝึกอบรม (S.D.=2.14) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนก่อนฝึกอบรมและหลังฝึกอบรม พบว่าค่า t ที่ได้เท่ากับ 11.17 คะแนน และมีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 หมายความว่า คะแนนก่อนการฝึกอบรมกับคะแนนหลังการฝึกอบรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 <การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.48)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.54) โดยหัวข้อเทคนิคการพูดในที่ชุมชนและการนำเสนอ ได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.65 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.65) โดยด้านความเชื่อมั่นเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการ คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.81 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด)<เศรษฐกิจและสามารถ /><ความเหมาะสม>-<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>ควรเพิ่มระยะเวลาในการฝึกอบรม เนื่องจากแต่ละวิชามีเนื้อหาน่าสนใจ แต่ระยะเวลามีจำกัด <ชื่อโครงการ/>หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับต้น รุ่นที่ 44<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>10 วัน (16 ก.พ.-2 มี.ค. 2564)<วัตถุประสงค์>โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับต้นที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 2)มีทัศนคติที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถทำงานในลักษณะทีมงานได้อย่างเหมาะสม 3)สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการปฏิบัติงานของตนเองและเพื่อนร่วมงาน และนำไปปรับใช้ในการสร้างทีมปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4)ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติงานระหว่างกัน และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานในอนาคต<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>75 คน<จำนวนผู้ผ่าน>75 คน (ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 54 คน และเพศชาย 21 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36 – 40 ปี อายุราชการ 6 - 10 ปี และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>ผลการประเมิน พบว่า ค่าเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 17.32 และค่าเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 13.11 โดยมีการกระจายของคะแนนในกลุ่มหลังการฝึกอบรม (S.D.=1.16) น้อยกว่าก่อนการฝึกอบรม (S.D.=3.64) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนก่อนฝึกอบรมและหลังฝึกอบรม พบว่าค่า t ที่ได้เท่ากับ 10.45 คะแนน และมีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 หมายความว่า คะแนนก่อนการฝึกอบรมกับคะแนนหลังการฝึกอบรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 <การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.42)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.47) โดยหัวข้อจริยธรรมในการทำงานและการบริหารคน ได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.57 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.65) โดยด้านเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.67 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด)<เศรษฐกิจและสามารถ /><ความเหมาะสม /><ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>ควรมีหลักสูตรเพิ่มเติมให้ได้พบปะกันระหว่างรุ่น สร้างเครือข่าย <ชื่อโครงการ/>หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับต้น รุ่นที่ 45<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>10 วัน (16-29 มี.ค. 2564)<วัตถุประสงค์>โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับต้นที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 2)มีทัศนคติที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถทำงานในลักษณะทีมงานได้อย่างเหมาะสม 3)สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการปฏิบัติงานของตนเองและเพื่อนร่วมงาน และนำไปปรับใช้ในการสร้างทีมปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4)ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติงานระหว่างกัน และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานในอนาคต<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>75 คน<จำนวนผู้ผ่าน>75 คน (ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 51 คน และเพศชาย 24 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36 – 40 ปี อายุราชการ 6 - 10 ปี และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>ผลการประเมิน พบว่า ค่าเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 17.39 และค่าเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 13.41 โดยมีการกระจายของคะแนนในกลุ่มหลังการฝึกอบรม (S.D.=1.99) น้อยกว่าก่อนการฝึกอบรม (S.D.=3.00) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนก่อนฝึกอบรมและหลังฝึกอบรม พบว่าค่า t ที่ได้เท่ากับ 11.45 คะแนน และมีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 หมายความว่า คะแนนก่อนการฝึกอบรมกับคะแนนหลังการฝึกอบรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 <การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.46)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.58) การเสริมสร้างบุคลิกภาพสำหรับนักบริหาร ได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.68 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.63) โดยด้านเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.76 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด)<เศรษฐกิจและสามารถ /><ความเหมาะสม /><ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>การเรียนออนไลน์อาจจะดีตรงลดต้นทุนค่าใช้จ่าย แต่ประสิทธิภาพที่เกิดน่าจะด้อยกว่าการเรียนด้วยตัวเองกว่ามาก ทั้งในเรื่องการปฏิสัมพันธ์ การสร้างเครือข่าย การเรียนรู้ที่มีการสะดุดบ่อยครั้งเมื่อสัญญาณอินเตอร์เนตมีปัญหา <ชื่อโครงการ/>หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับต้น รุ่นที่ 46<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>10 วัน (19-30 เม.ย. 2564)<วัตถุประสงค์>โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับต้นที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 2)มีทัศนคติที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถทำงานในลักษณะทีมงานได้อย่างเหมาะสม 3)สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการปฏิบัติงานของตนเองและเพื่อนร่วมงาน และนำไปปรับใช้ในการสร้างทีมปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4)ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติงานระหว่างกัน และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานในอนาคต<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>75 คน<จำนวนผู้ผ่าน>75 คน (ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 56 คน และเพศชาย 19 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36 – 40 ปี อายุราชการ 6 - 10 ปี และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>ผลการประเมิน พบว่า ค่าเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 18.52 และค่าเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 14.08 โดยมีการกระจายของคะแนนในกลุ่มหลังการฝึกอบรม (S.D.=1.57) น้อยกว่าก่อนการฝึกอบรม (S.D.=2.62) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนก่อนฝึกอบรมและหลังฝึกอบรม พบว่าค่า t ที่ได้เท่ากับ 13.65 คะแนน และมีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 หมายความว่า คะแนนก่อนการฝึกอบรมกับคะแนนหลังการฝึกอบรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 <การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.53)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.68) โดยหัวข้อเทคนิคการพูดในที่ชุมชนและการนำเสนอ และหัวข้อจริยธรรมในการทำงานและการบริหารคนได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.71 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.73) โดยด้านเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.86 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด)<เศรษฐกิจและสามารถ /><ความเหมาะสม /><ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>ควรเพิ่มวิทยากรรุ่นใหม่ ไฟแรง หรือวิทยากรที่ใช้สื่อการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะสามารถกระตุ้นผู้เรียนได้ เช่น วิทยากรจากสถาบันปัญญาภิวัฒน์ ของ CP <ชื่อโครงการ/>หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับต้น รุ่นที่ 47<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>10 วัน (5-18 พ.ค. 2564)<วัตถุประสงค์>โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับต้นที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 2)มีทัศนคติที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถทำงานในลักษณะทีมงานได้อย่างเหมาะสม 3)สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการปฏิบัติงานของตนเองและเพื่อนร่วมงาน และนำไปปรับใช้ในการสร้างทีมปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4)ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติงานระหว่างกัน และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานในอนาคต<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>75 คน<จำนวนผู้ผ่าน>75 คน (ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 45 คน และเพศชาย 30 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36 – 40 ปี อายุราชการต่ำกว่า 6 ปี และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>ผลการประเมิน พบว่า ค่าเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 18.84 และค่าเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 14.08 โดยมีการกระจายของคะแนนในกลุ่มหลังการฝึกอบรม (S.D.=1.51) น้อยกว่าก่อนการฝึกอบรม (S.D.=3.80) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนก่อนฝึกอบรมและหลังฝึกอบรม พบว่าค่า t ที่ได้เท่ากับ 13.26 คะแนน และมีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 หมายความว่า คะแนนก่อนการฝึกอบรมกับคะแนนหลังการฝึกอบรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 <การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.59)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.69) โดยหัวข้อเทคนิคการพูดในที่ชุมชนและการนำเสนอ ได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.75 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.74) โดยด้านเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.86 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด)<เศรษฐกิจและสามารถ /><ความเหมาะสม /><ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>กรณีอมรมแบบออนไลน์ เมื่อจบการอบรม หากมีการพิจารณาจัดหาโครงการ (เวลา) ให้รุ่นที่มีการอบรมออนไลน์มาทำกิจกรรมร่วมกันหลังจากสถานการณ์โรคระบาดดีขึ้น จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าอบรมเป็นอย่างสูงและเป็นประโยชน์ให้แก่องค์กรในการเชื่อมโยงเครือข่ายการทำงานระหว่างหน่วยงานภายใต้ กษ. ได้เป็นอย่างดี <ชื่อโครงการ/>หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับต้น รุ่นที่ 48<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>10 วัน (24 พ.ค.-7 มิ.ย. 2564)<วัตถุประสงค์>โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับต้นที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 2)มีทัศนคติที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถทำงานในลักษณะทีมงานได้อย่างเหมาะสม 3)สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการปฏิบัติงานของตนเองและเพื่อนร่วมงาน และนำไปปรับใช้ในการสร้างทีมปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4)ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติงานระหว่างกัน และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานในอนาคต<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>75 คน<จำนวนผู้ผ่าน>75 คน (ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 45 คน และเพศชาย 30 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 41 – 45 ปี อายุราชการ 11 - 15 ปี และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>ผลการประเมิน พบว่า ค่าเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 17.48 และค่าเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 12.64 โดยมีการกระจายของคะแนนในกลุ่มหลังการฝึกอบรม (S.D.=2.16) น้อยกว่าก่อนการฝึกอบรม (S.D.=3.29) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนก่อนฝึกอบรมและหลังฝึกอบรม พบว่าค่า t ที่ได้เท่ากับ 12.12 คะแนน และมีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 หมายความว่า คะแนนก่อนการฝึกอบรมกับคะแนนหลังการฝึกอบรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 <การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.55)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.68) โดยหัวข้อเทคนิคการพูดในที่ชุมชนและการนำเสนอ ได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.77 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.71) โดยด้านเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.89 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด)<เศรษฐกิจและสามารถ /><ความเหมาะสม /><ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>อยากให้ทางผู้จัดนำหลักสูตรด้าน IT เข้ามาร่วมสอนด้วยค่ะเช่นการใช้โปรแกรมระบบซูมด้วยตนเองได้(เปรียบเสมือนตนเองเป็น admin หรือแบบการทำแบบประเมินแบบสอบถามทางอิลิกโทรนิค หรือการทำยูทูป คร่าวๆใก้ผู้รับการอบรมได้พกอาวุธด้าน IT กลับนำไปต่อยอดที่ทำงาน <ชื่อโครงการ/>หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับต้น รุ่นที่ 49<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>10 วัน (15-28 มิ.ย. 2564)<วัตถุประสงค์>โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับต้นที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 2)มีทัศนคติที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถทำงานในลักษณะทีมงานได้อย่างเหมาะสม 3)สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการปฏิบัติงานของตนเองและเพื่อนร่วมงาน และนำไปปรับใช้ในการสร้างทีมปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4)ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติงานระหว่างกัน และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานในอนาคต<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>75 คน<จำนวนผู้ผ่าน>75 คน (ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 49 คน และเพศชาย 26 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 41 – 45 ปี อายุราชการ 6 - 10 ปี และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>ผลการประเมิน พบว่า ค่าเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 18.64 และค่าเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 13.56 โดยมีการกระจายของคะแนนในกลุ่มหลังการฝึกอบรม (S.D.=1.69) น้อยกว่าก่อนการฝึกอบรม (S.D.=3.21) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนก่อนฝึกอบรมและหลังฝึกอบรม พบว่าค่า t ที่ได้เท่ากับ 13.43 คะแนน และมีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 หมายความว่า คะแนนก่อนการฝึกอบรมกับคะแนนหลังการฝึกอบรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 <การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.52)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.67) โดยหัวข้อเทคนิคการพูดในที่ชุมชนและการนำเสนอ ได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.72 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.74) โดยด้านเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.86 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด)<เศรษฐกิจและสามารถ /><ความเหมาะสม /><ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>ทุกกิจกรรมควรอยู่ในห้วงเวลาปกติ 8.30-16.30 น. <ชื่อโครงการ/>หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับต้น รุ่นที่ 50<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>10 วัน (5-16 ก.ค. 2564)<วัตถุประสงค์>โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับต้นที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 2)มีทัศนคติที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถทำงานในลักษณะทีมงานได้อย่างเหมาะสม 3)สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการปฏิบัติงานของตนเองและเพื่อนร่วมงาน และนำไปปรับใช้ในการสร้างทีมปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4)ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติงานระหว่างกัน และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานในอนาคต<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>75 คน<จำนวนผู้ผ่าน>75 คน (ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 44 คน และเพศชาย 31 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36 – 40 ปี อายุราชการ 11 - 15 ปี และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>ผลการประเมิน พบว่า ค่าเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 18.53 และค่าเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 13.56 โดยมีการกระจายของคะแนนในกลุ่มหลังการฝึกอบรม (S.D.=1.66) น้อยกว่าก่อนการฝึกอบรม (S.D.=3.42) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนก่อนฝึกอบรมและหลังฝึกอบรม พบว่าค่า t ที่ได้เท่ากับ 13.73 คะแนน และมีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 หมายความว่า คะแนนก่อนการฝึกอบรมกับคะแนนหลังการฝึกอบรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 <การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.51)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.58) โดยหัวข้อการแก้ปัญหาและการตัดสินใจอย่างเป็นระบบและมีกลยุทธ์ ได้รับคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.61 อยู่ในระดับมากที่สุด)<ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.71) โดยด้านเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.81 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด)<เศรษฐกิจและสามารถ /><ความเหมาะสม /><ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>ด้วยเนื้อหา และการปรับตัวในการเรียนแบบออนไลน์ควร มีระยะเวลา ประมาณ 12-15 วัน <ชื่อโครงการ/>หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับต้น รุ่นที่ 51<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>10 วัน (3-17 ส.ค. 2564)<วัตถุประสงค์>โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับต้นที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 2)มีทัศนคติที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถทำงานในลักษณะทีมงานได้อย่างเหมาะสม 3)สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการปฏิบัติงานของตนเองและเพื่อนร่วมงาน และนำไปปรับใช้ในการสร้างทีมปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4)ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติงานระหว่างกัน และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานในอนาคต<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>75 คน<จำนวนผู้ผ่าน>75 คน (ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 46 คน และเพศชาย 29 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36 – 40 ปี อายุราชการ 6 - 10 ปี และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ่)<การประเมินผล>ผลการประเมิน พบว่า ค่าเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 18.75 และค่าเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 12.72 โดยมีการกระจายของคะแนนในกลุ่มหลังการฝึกอบรม (S.D.=1.65) น้อยกว่าก่อนการฝึกอบรม (S.D.=3.98) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนก่อนฝึกอบรมและหลังฝึกอบรม พบว่าค่า t ที่ได้เท่ากับ 12.94 คะแนน และมีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 หมายความว่า คะแนนก่อนการฝึกอบรมกับคะแนนหลังการฝึกอบรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 <การบรรลุวัตถุประสงค์>มีระดับความคิดเห็นเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.41)<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.69) โดยหัวข้อหัวข้อเทคนิคการพูดในที่ชุมชนและการนำเสนออยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.69) <ความพึงพอใจ>อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.65) โดยด้านเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด (ค่าเฉลี่ย 4.78 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด)<เศรษฐกิจและสามารถ /><ความเหมาะสม /><ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>เสนอให้เพิ่มกิจกรรมที่มีการทำงานกลุ่มให้มากขึ้น และเพิ่มเนื้อหาการอบรมเกี่ยวกับ 1.การจัดทำโครงการ และแผนงานตามยุทธศาสตร์ 2.การบริหารโครงการ 3.การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง 4.การจัดการฐานข้อมูล <ชื่อโครงการ/>หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับต้น รุ่นที่ 52<ปีงบประมาณ>2564<ระยะเวลาฝึกอบรม>18 วัน (23 ส.ค.-3 ก.ย. 2564)<วัตถุประสงค์>โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับต้นที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 2)มีทัศนคติที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถทำงานในลักษณะทีมงานได้อย่างเหมาะสม 3)สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการปฏิบัติงานของตนเองและเพื่อนร่วมงาน และนำไปปรับใช้ในการสร้างทีมปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4)ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติงานระหว่างกัน และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานในอนาคต<กลุ่มเป้าหมาย>ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนในกำกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<จำนวนผู้เข้าอบรม>100 คน<จำนวนผู้ผ่าน>อยู่ระหว่างดำเนินการ<การประเมินผล>อยู่ระหว่างดำเนินการ<การบรรลุวัตถุประสงค์>อยู่ระหว่างดำเนินการ<ประโยชน์ของหัวข้อวิชา>อยู่ระหว่างดำเนินการ<ความพึงพอใจ>อยู่ระหว่างดำเนินการ<เศรษฐกิจและสามารถ>อยู่ระหว่างดำเนินการ<ความเหมาะสม>อยู่ระหว่างดำเนินการ<ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม>อยู่ระหว่างดำเนินการ