ตัวชี้วัดผลิตภาพและผลประกอบการอุตสาหกรรมรายปี

การวิเคราะห์ผลิตภาพการผลิตจะอาศัยทั้งปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในจากตัวชี้วัดผลประกอบการด้านต่างๆ ในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงของผลิตภาพการผลิต แบ่งกลุ่มตัวชี้วัดเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) ภาวะตลาด 2) คุณภาพของปัจจัยการผลิต 3) การบริหารจัดการ 4) นวัตกรรม

Дані та ресурси

Додаткова інформація

Поле Значення
* ประเภทชุดข้อมูล ข้อมูลสถิติ
ยินยอมให้นำชื่อชุดข้อมูลไปใช้ที่ GD-Catalog ยินยอม
* ชื่อผู้ติดต่อ กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
* อีเมลผู้ติดต่อ tfp_index@oie.go.th
* วัตถุประสงค์ พันธกิจหน่วยงาน
* หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล ปี
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) 1
* ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ ประเทศ
* แหล่งที่มา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
* รูปแบบการเก็บข้อมูล CSV
* หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ข้อมูลสาธารณะ
* Ліцензія Open Data Common
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล ไม่มีเงื่อนไข
URL https://www.oie.go.th/view/1/ผลิตภาพอุตสาหกรรม_TFP/TH-TH
ภาษาที่ใช้
  • ไทย
  • อังกฤษ
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด January 7, 2022
วันที่กำหนดเผยแพร่ข้อมูล April 29, 2022
ปีข้อมูลที่เริ่มต้นจัดทำ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) 2561
ปีข้อมูลล่าสุดที่เผยแพร่ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) 2563
การจัดจำแนก (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) อื่นๆ
ตัวชี้วัด
หน่วยวัด (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ร้อยละ, อัตราการเติบโต
หน่วยตัวคูณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) หน่วย
วิธีการคำนวณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) "ตัวชี้วัดผลิตภาพและผลประกอบการ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) ภาวะตลาด: เป็นกลุ่มตัวชี้วัดสะท้อนปัจจัยภายนอกที่ส่งผลโดยตรงกับผลประกอบการ ได้แก่ อัตราการเติบโตของยอดขาย และสัดส่วนมูลค่าการส่งออก 2) คุณภาพปัจจัยการผลิต: เป็นกลุ่มตัวชี้วัดสะท้อนศักยภาพและความสามารถในการดำเนินงานของปัจจัยแรงงานและทุน ได้แก่ สัดส่วนแรงงานวิชาชีพและแรงงานฝีมือต่อแรงงานทั้งหมด สัดส่วนแรงงานที่ได้รับการฝึกอบรมต่อแรงงานทั้งหมด สัดส่วนมูลค่าเครื่องจักรที่มีอายุไม่เกิน 5 ปี และสัดส่วนมูลค่าเครื่องจักรที่มีรูปแบบอัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนม้ติ 3) การบริหารจัดการ: แบ่งเป็น 3 กลุ่มย่อย ดังนี้ 3.1) ตัวชี้วัดสะท้อนความสามารถในการดำเนินงานด้านการผลิตและการขาย ได้แก่ สัดส่วนการผลิตในรูปแบบ OBM และ ODM สัดส่วนการจำหน่ายผ่าน e-commerce และอัตราส่วนสินทรัพย์ถาวรต่อแรงงาน 3.2) ตัวชี้วัดสะท้อนความสามารถในการควบคุมต้นทุนและสร้างมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ สัดส่วนต้นทุนวัตถุดิบต่อต้นทุนรวม สัดส่วนต้นทุนแรงงานต่อต้นทุนรวม สัดส่วนต้นทุนรวมต่อยอดขาย สัดส่วนมูลค่าเพิ่มต่อยอดขาย 3.3) ตัวชี้วัดสะท้อนความสามารถในการบริหารจัดการด้านการเงิน ได้แก่ อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 4) นวัตกรรม: กลุ่มตัวชี้วัดที่สะท้อนศักยภาพในการดำเนินงานด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ได้แก่ สัดส่วนการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา "
มาตรฐานการจัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) TSIC
สถิติทางการ
Створено June 8, 2022
Останнє оновлення September 27, 2022